วันอาทิตย์ที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2558


                              ตัวชี้วัด                                                                                                                         
         อธิบายหลักการเเละวิธีการเเก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการ            เทคโนโลยีสารสนเทศ (ง 3.1 ม.2/2)
     
    สาระการเรียนรู้เเกนกลาง

    กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น การรวบรวมข้อมูล การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ฯลฯ
     
      การเเก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นการเเก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน ฯลฯ
    
       การใช้คอมพิวเตอร์ในการเเก้ปัญหาทำได้โดยการใช้ซอฟเเวร์ประยุกต์หรือการเขียนโปรเเกรม
     
       วิธีการเเก้ปัญหา
      





วันอาทิตย์ที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2558


กระบวนการเทคโลยีสารสนเทศ    
        กระบวนการเทคโลยีสารสนเทศ   หมายถึง  กระบวนการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อกระทำให้เป็นสารสนเทศ  การจัดเก็บและการนำเสนอสารสนเทศให้เป็นปัจจุบันทันต่อเหตุการณ์ อ่านเพิ่มเติม





.การใช้คอมพิวเตอร์เเก้ปัญหา

       
      ในชีวิตประจำวันทุกคนต้องเคยพบกับปัญหาต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาด้านการเรียน การงาน การเงิน หรือแม้แต่การเล่นเกม เมื่อพบกับปัญหา แต่ละคนมีวิธีที่จะจัดการหรือแก้ปัญหาเหล่านั้นแตกต่างกันไป  ซึ่งแต่ละวิธีการอาจให้ผลลัพธ์ที่เหมือนหรือแตกต่างกันเล็กน้อย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความรู้     ความสามารถและประสบการณ์ของบุคคลผู้นั้น               อ่านเพิ่มเติม

           การเเก้ไขปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์


    1)การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา  การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา (State the Problem) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนแรกสุดก่อนที่จะลงมือแก้ปัญหา แต่ผู้แก้ปัญหามักจะมองข้ามความสำคัญของขั้นตอนนี้อยู่เสมอ จุดประสงค์ของขั้นตอนนี้  
  
     2) การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี (Tools and Algorithm Development) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนของการวางแผนในการแก้ปัญหาอย่างละเอียดถี่ถ้วน หลังจากที่เราทำความเข้าใจกับปัญหา พิจารณาเงื่อนไขและข้อมูลที่มีอยู่ และสิ่งที่ต้องการหาในขั้นตอนที่ 1 แล้ว เราสามารถคาดคะเนวิธีการที่จะใช้ในการแก้ปัญหา ขั้นตอนนี้จำเป็นต้องอาศัยประสบการณ์ของผู้แก้ปัญหาเป็นหลัก 

 3) การดำเนินการแก้ปัญหา การดำเนินการแก้ปัญหา (Implementation) หลังจากที่ได้ออกแบบขั้นตอนวิธีเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ต้องลงมือแก้ปัญหาโดยใช้เครื่องมือที่ได้เลือกไว้ หากการแก้ปัญหาดังกล่าวใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยงาน

4) การตรวจสอบและปรับปรุง การตรวจสอบและปรับปรุง (Refinement) หลังจากที่ลงมือแก้ปัญหาแล้ว ต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่าวิธีการนี้ให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง โดยผู้แก้ ปัญหาต้องตรวจสอบว่าขั้นตอนวิธีที่สร้างขึ้นสอดคล้องกับรายละเอียด ของปัญหา